วันศุกร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2553

วันพุธที่ 6 ตุลาคม 2532

ทำข้อบสอบในรายวิชา

ส่งข้อสอบเทคนิคการสอนทางวิทยาศาสตร์

ข้อสอบ
1.ให้ท่านเขียนแสดงพฤติกรรมของครูเพื่อเปลี่ยนเจตคติเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
1.1 ส่งเสริมให้เด็กรู้จักสังเกต
คุณครูไม่ควรบอกเด็กจนหมดเพราะท่าเด็กรู้ทุกอย่างเด็กจะไม่เกิดความสงสัยหรือความอยากรู้เพราะเด็ก
ปฐมวัยเป็นวัยที่อยากรู้อยากลองควรเปิดโอกาสให้เด็กได้สังเกตเมื่อเด็กเกิดความสนใจเด็กก็จะเข้าไปสัมผัส
อยากรู้อยากเห็นอยากทดลองคุนครูควรเปิดโอกาสให้เด็กทดลองและได้เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติ
ด้วยตนเองกระบวนการเหล่านี้จะทำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์คุณครูควรใช้คำถามหรือแนะนำเพื่อฝึกให้
เด็กฝึกสังเกตอ้างอิงจากกระบวนการวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยดังนี้ นิวเมน (Neuman) กล่าวว่าทักษะ
ทางกระบวนการวิทยาศาสตร์มีความสำคัญสำหรับเด็กปฐมวัยต่อการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่
ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะแสดงปริมาณและทักษะการสื่อความหมาย ดังนั้น คุณครู
จึงควรเน้นให้เด็กเป็นคนช่างสังเกตในการทำกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ควรส่งเสริมและแนะนำให้เด็กสังเกต
1.2 สร้างความชัดเจนว่าวิทยาศาสตร์เป็นของเด็กทุกคน
ในการทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์คุณครูต้องมั่นใจว่าวิทยาศาสตร์เหมาะเหมาะกับเด็กทุกคนไม่เจาะจงว่าเด็ก
คนนี้เหมาะสมหรือไม่เหมาะสม ครูควรสร้างความน่าสนใจในกิจกรรม เพราะตัวกิจกรรมเป็นตัวดึงดูดให้เด็ก
เข้ามาสนใจวิทยาศาสตร์เพราะครูมีหน้าที่ต้องทำให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์ไม่ว่าเด็กจะเรียนรู้ได้ช้าหรือเร็ว
ควรทำให้เด็กเห็นว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องน่าตื่นเต้นและสนุกควรหากิจกรรมที่แปลกใหม่และสร้างสรรค์อยู่
ตลอดเวลาเพื่อเป็นการกระตุ้นให้เด็กสนใจวิทยาศาสตร์อยากทดลองและลงมือปฏิบัติ
1.3 บอกวิธีที่ผู้ปกครองจะช่วยให้เด็กเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ผู้ปกครองจะอยู่ใกล้ชิดกับเด็กมากที่สุดดังนั้นผู้ปกครองควรเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับเด็กเพราะว่าเด็กจะเลียน
แบบของบุคคลในครอบครัวผู้ปกครองมีหน้าที่ดุแลเอาใจใส่ดุแลลูกสนใจพฤติกรรมของลูก เช่น การเล่น
การพูดคุย เพื่อเด็กจะเกิดความเชื่อมั่นรู้สึกอบอุ่นปลอดภัยจะทำให้เด็ดกล้าแสดงออกเชิงสร้างสรรค์การที่
คุณครูคอยแนะนำวิธีให้แก่ผู้ปกครองในการปฏิบัติที่จะช่วยให้เด็กเกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพราะเด็กจะใช้
เวลาที่บ้านมากกว่าที่โรงเรียนดังนั้นผู้ปกครองควรมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและส่งเสริมให้เด็กสนใจและ
เกิดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยคุณครูคอยให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองว่ากิจกรรมใดที่ให้เด็กเกิดการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์บ้าง เรื่องอะไร สื่อชนิดใด
1.4 ปลูกฝังให้เด็กเห็นว่าวิทยาศาสตร์จะนำมาซึ่งความสนุกสนานและความพอใจ
คุณครูควรปลุกฝังให้เด็กเห็นว่าวิทยาศาสตร์จะนำมาซึ่งความสนุกและพอใจโดยคุณครูหาวิธีให้เด็กรู้สึกว่า
วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องสนุก น่าสวนใจ น่าตื่นเต้นและหน้าค้นหา โดยการทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เน้นให้เด็ก
ทดลองด้วยตนเองในการทำกิจกรรมคุณครูควรใช้คำถามกับเด็ก
1.5 สร้างความมั่นใจในตัวเองให้กับเด็ก
เด็กทุกคนมีความสามารถขึ้นอยู่ว่าเด็กจะแสดงออกมามากน้อยต่างกันออกไปดังนั้นคุณครูควรดึงความ
สามารถของเด็กออกมาและสร้างความมั่นใจให้กับเด็กให้เด็กมีความรู้สึกว่าตนเองมีค่าและมีความสามารถ
คุณครูควรฝึกให้เด็กค้นคว้าและสืบค้นด้วยตนเองให้เด็กสังเกตและซักถามโดยที่คุณครูไม่บอกเด็กจนหมด
การที่เด็กเกิดความสงสัยเด็กก็จะอยากค้นคว้าและหาคำตอบด้วยตนเองเมื่อเด็กมีความมั่นใจเด็กก็จะทดลอง
สิ่งที่แปลกใหม่ขึ้นมาและลงมือปฏิบัติด้วยตนเองซึ่งเด็กจะมีความภูมิใจและคิดสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆขึ้นมา
2.บทบาทของครูอนุบาลในฐานะครูวิทยาศาสตร์มีอะไรบ้าง
คุณครูควรจัดสภาพแววล้อมให้น่าเรียนมากมากที่สุดเพราะการจัดกิจกรรมให้กับเด็กนั้นควรมีอากาศที่สดชื่น
เพื่อให้เด็กรู้สึกผ่อนคลายและแสดงความคิดสร้างสรรค์ออกมาขณะทำกิจกรรมเปิดโอกาสให้เด็ก
แสดงออกอย่างเต็มที่ควรตั้งคำถามให้เด็กได้คิด ได้แก้ปัญหา ลองผิดลองถูก โดยคูณครูไม่ควรต่อว่าหรือ
ใช้คำพุดซ้ำเตอมเด็กเมื่อเด็กทำออกมาผิดเพราะเด็กอยากแสดงออกตามความคิดและตามจินตนาการคุณ
ครูจึงควรเปิดโอกาสให้เด็กในการทำกิจกรรมและควรเน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองคุณครูควรให้คำ
แนะนำและกำลังใจคอยสังเกตเด็กอยู่ห่างๆให้ความช่วยเหลือเมื่อเด็กต้องการไม่ใช่คอยทำให้เด็กไป
ทุกอย่างควรฝึกให้เด็กแก้ปัญหาด้วยตนเองไม่ควรตัดสินเด็กว่าคนไหนทำดีแล้วต้องได้รางวัลหรือคะแนนแต่
ควรส่งเริมให้เด็กแสดงออกตามความสามารถไม่ว่าสิ่งที่ทำออกมาจะดีหรือไม่คุณครูควรให้กำลังใจเป็นการ
เสริมแรงเด็กด้วยคำชื่นชม เป็นต้น
3. การสอนวิทยาศาสตร์ครูต้องเตรียมอะไรบ้าง
ต้องเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยของเด็ก เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมและตัวอุปกรณ์นั้นต้องสะอาดและ
ปลอดภัย ในการสอนวิทยาศาสตร์ไม่ใช่จะต้องนั่งเรียนแต่ในห้องเรียนอย่างเดียวสามารถออกไปเรียนกลาง
สนามได้ เรียนแบบอิสระควรให้เด็กใกล้ชิดธรรมชาติในการสอนวิทยาศาสตร์ควรปนกับการเล่น การทดลอง
ควรเปิดโอกาสค้นคว้าและหาคำตอบเองในการสอนไม่ควรยึดแบบเรียนที่ตายตัว คุณครูควรแนะนำอุปกรณ์
ให้เด็กสนใจและอยากจับต้องควรใช้คำถามกับเด็กและทำกิจกรรมที่แปลกใหม่อยู่เสมอให้เด็กสร้าง
จินตนาการ
4.ตัวอย่างการสอนกิจกรรมวิทยาศาสตร์
อากาศ การทำฟองสบู่
ความคิดรวบยอด อากาศต้องการที่อยู่ ฟองสบู่มีอากาศอยู่ข้างในจึงลอยได้
วัตถุประสงค์ เด็กทำฟองสบู่จากอุปกรณ์ที่กำหนดได้
อุปกรณ์ สบู่เหลวหรือน้ำยาซักผ้า 8 ช้อนโต๊ะ น้ำ 1 ควอท หลอดดุดถ้วยและสีผสมอาหาร
4.1ครูควรใช้คำถามอย่างไรพร้อมยกตัวอย่างคำถาม
จะเกิดอะไรขึ้นกับฟองสบู่ ลองเล่าเกี่ยวกับฟองสบู่ให้ครูฟังซิค่ะ
เด็กจะเป่าฟองสบู่ได้กี่ลูก อะไรที่ลอยอยู่บนท้องฟ้าได้บ้าง
เด็กคิดว่าฟองสบู่จะแตกหรือไม่ เวลาที่เด็กๆเป่าฟองสบู่แล้วอะไรอยู่ในฟองสบู่ค่ะ
ฟองสบู่มีลักษณะอย่างไร ฟองสบู่ออกมาจากหลอดได้อย่างไร
เด็กคิดว่าอะไรอยู่ในฟองสบู่ เด็กๆจะทำให้ฟองสบู่อยู่ได้นานๆอย่างไร
4.2 ครูจัดประสบการณ์เสริมอย่างไรได้บาง
ในการเป่าฟองสบู่นอกจากหลอดแล้วครูควรเพิ่มอุปกรณ์อื่นๆเช่น ก้านผักบุ้ง เป็นต้น
ส่งเสริมให้เด็กวาดภาพฟองสบู่ตามจินตนาการแล้วตกแต่งให้สวยงาม
ให้เด็กเล่าประสบการณ์โดยเล่าเกี่ยวกับฟองสบู่โดยที่ครูจดบันทึกลงกระดาษแผ่นใหญ่จากนั้นคุณครูและเด็ก
ร่วมกันวาดรูปตกแต่งให้สวยงาม
5.ลักษณะกิจกรรมวิทยาศาสตร์ที่เหมาะสมมีลักษณะอย่างไร
เป็นกิจกรรมที่ไม่ต้องระวังมากและให้เด็กทำกิจกรรมได้อย่างเต็มที่และกิจกรรมต้องเหมาะสมตามวัยของเด็ก
และตัวกิจกรรมนั้นต้องแปลกใหม่อุปกรณ์น่าสนใจดึงดูดความสนใจของเด็กเน้นให้เด็กลงมือปฏิบัติด้วยตน
เองกิจกรรมต้องเน้นให้เด็กสำรวจค้นคว้าควรคำนึงถึงประโยชน์ที่เด็กจะได้รับจากกิจกรรมและส่งเสริมให้เด็ก
คิดค้นอยู่เสมอต้องเน้นให้เด็กฝึกการสังเกต
ฃนิวเมน (Neuman) ได้เสนอหลักสำคัญนำไปสู่การสังเกตของเด็กปฐมวัยดังนี้
ความรู้ที่ได้จากการสังเกตต้องเกี่ยวข้องกับประสาททั้งห้า
ควรใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการสังเกตอย่างละเอียดลออ
ต้องใช้ความสามารถของร่างกายโดยเฉพาะประสาทสัมผัสทั้งห้าในการสังเกตอย่างระมัดระวังและจาก
ประสบการณ์ที่ได้รับจะทำให้การสังเกตของเด็กนั้นพัฒนาขึ้นในการสังเกตสามารถกลายเป็นเครื่องมือการ
เรียนรู้ที่มี่คุณค่า
6.ครูมีวิธีการประเมินการเรียนรู้ของเด็กได้อย่างไร
สังเกตการตอบคำถาม
สังเกตความสนใจต่อการร่วมกิจกรรม
สังเกตทักษะการสังเกต
สังเกตการจำแนกและเปรียบเทียบ

สรุป mine map

วันพุธที่ 22 กันยายน 2553
การสรุปการทำ minemap ว่านำมาใช้กับการจัดกิจกรรมวิทยศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยได้อย่างไรมีการจัด

กิจกรรมใดบ้างที่เหมาะสม

นำเสนอ mine map เรื่องสัตว์



วันพุธที่ 15 กันยายน 2532

นำเสนอ mine map เรื่องสัตว์ว่ามีลักษณะ รูปร่าง ขนาด การดูแลรักษา ประโยชน์ และโทษ

สรุปกิจกรรมการจัดกิจกรรมวันวิทยาศาสตร์


สรุปการจัดกิจกรรม



แล้วนำเสอนเป็น powerpoie สรุปว่าขณะที่เด็กร่วมทำกิจกรรมเด็กมีพฤติกรรมอย่างไรบ้างมีการใช้คำถามกับ



เด็กเช่นไรให้ความร่วมมือขนาดไหนกลุ่มของดิฉันได้จัดกิจกรรมเรื่องแสงแต่ดิฉันและเพื่อนสองคนไปอยู่



ฐานของครูกุ้งเพราะครูกุ้งต้องจัดกิจกรรมอีกฐานหนึ่งดิฉันได้อยู่ฐานกลิ่นมาดามหอมชื่นใจจะมีสิ่งที่อยู่ใน



ขวดแบ่งเป็นสามประเภท มีกลิ่นหอม กลิ่นเหม็น และฉุน แต่ละขวดจะมีสิ่งของอยู่ข้างในคือ กะปิ สบู่เหลว



แอมโมเนียแล้วให้เด็กดม แล้วบอกความรู้สึกว่าดมแล้วเป็นอย่างไร ดิฉันจะพุดคุยและอธิบายให้เด็กเข้าใจ



แล้วใช้คำถามกับเด็กว่าชอบกลิ่นไหนแล้วมีกลิ่นอย่างไรรู้หรือไม่อะไรอยู่ข้างไหน

กิจกรรมที่โรงเรียนอนุบาลสาธิต



วันที่ 8 กันยายน 2553
เพื่อนแต่ละกลุ่มได้นำสื่อของตนเองไปจัดกับเด็กในสาธิตมีกิจกรรมหลายอย่างที่เยวข้องกับประสาทสัมผัสธ์ทั้ง5

การนำเสอนงานสื่อวิทยาศาสตร์เรื่องแสง


ได้อะไรจากการทำกิจกรรมสื่อวิทยาศาสตร์
-เป็นคนตรงต่อเวลาในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ตรงต่อเวลาในการส่งงาน
-มีความรับผิดชอบ มีระเบียบวินัย
-รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-มีความสามัคคีภานในกลุ่ม



วันพุธ ที่ 25 สิงหาคม






การนำเสอนงานหน้าชั้นเรียน

อธิบายสื่อแต่ละชิ้นว่าเมื่อเด็กได้ทำกิจกรรมจะได้อะไรจากสื่อทุกชิ้น มีความปลอดภัยคงทนหรือไม่จะ

อธิบายอย่างไรเมื่อเด็กเข้ามาทำกิจกรรมที่ใช้ภาษาให้เด็กเข้าใจว่าแสงเกิดขึ้นอย่างไร